
หนึ่งในโรคยอดฮิตที่หลายคนเป็นกันมาก พบได้ในวัยเด็กจนถึงวัยทำงานแต่มักพบในวัยทำงานและผู้มีภาวะน้ำหนักเกิน ในประเทศไทยเรามักพบผู้ป่วยโรคเบาหวานอยู่ประมาณ 8.9% ของประชากรในประเทศไทยเลยทีเดียว โรคเบาหวานเป็นโรคที่ผู้ป่วยมักมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงผิดปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของระดับน้ำตาลในเลือด ส่งผลให้ร่างกายของผู้ป่วยไม่สามารถที่จะนำน้ำตาลไปใช้เผาผลาญเป็นพลังงานได้ตามปกติ จึงทำให้ระดับน้ำตาลสูงเพิ่มขึ้นอย่างมาก
โปรแกรมตรวจเบาหวาน ลดพิเศษ 20%
990.- 1,240.-
รายการตรวจ 9 รายการ
-
ตรวจหาระดับน้ำตาล 70.-
Glucose
-
ตรวจระดับน้ำตาลสะสม 380.-
HbA1c (Hemoglobin A1C)
-
ตรวจระดับไขมันคอเลสเตอรอล 70.-
Total Cholesterol
-
ตรวจระดับไขมันไตรกรีเซอร์ไรด์ในเลือด 120.-
Triglyceride
-
ตรวจระดับไขมันดี 180.-
HDL Cholesterol
-
ตรวจระดับไขมันไม่ดี 180.-
LDL-Direct
-
ตรวจการทำงานของไต 80.-
Creatinines
-
ตรวจสมรรถภาพตับ (ALT) 80.-
ALT (SGPT)
-
ตรวจปัสสาวะ 80.-
Urine Analysis
ประเภทของการตรวจเบาหวาน
เป็นการตรวจวัดระดับโปรตีนฮีโมโกลบินในเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ถูกจับเกาะด้วยน้ำตาลกลูโคส ค่าที่ได้จะสะท้อนถึงระดับความเข้มข้นเฉลี่ยของน้ำตาลในเลือดตลอดช่วงเวลา 2-3 เดือนที่ผ่านมา ซึ่งชนิดและปริมาณของอาหารที่รับประทานในช่วงนั้นจะมีอิทธิพลต่อค่านี้มาก การตรวจด้วยวิธีนี้ใช้ในการวินิจฉัยโรคเบาหวาน
โดยจะวัดระดับโปรตีนฮีโมโกลบินในเซลล์เม็ดเลือดแดงที่จับกับกลูโคส ค่านี้สะท้อนถึงความเข้มข้นของน้ำตาลในเลือดโดยเฉลี่ยในช่วงสองสามเดือนที่ผ่านมา ประเภทและปริมาณอาหารที่รับประทานในช่วงเวลานั้นมีอิทธิพลอย่างมากต่อคุณค่านี้ การทดสอบนี้ใช้เพื่อวินิจฉัยโรคเบาหวาน
คือ ไขมันชนิดหนึ่งที่เป็นส่วนประกอบสำคัญในผนังเซลล์ทุกส่วนของอวัยวะภายในร่างกายทั้งหมด และเป็นไขมันที่ประกอบในน้ำดีในตับ สำหรับย่อยสลายสารไขมันอีกด้วย ปริมาณของคอเลสเตอรอลจะเพิ่มหรือลดลง ขึ้นอยู่กับผู้ป่วยบริโภคอาหารที่มีสารคอเลสเตอรอลมากน้อยแค่ไหน เช่น เนื้อสัตว์ติดมัน หนังสัตว์ เครื่องในสัตว์ ไข่ นม และสัตว์ทะเลปลา กุ้ง ปู เป็นต้น
คือ ไขมันที่ร่างกายเกิดจากการสังเคราะห์ภายในตับ ปริมาณของไตรกลีเซอไรด์ จะเพิ่มหรือลดลง ขึ้นอยู่กับผู้ป่วยบริโภคอาหารที่่เป็นไขมันแท้โดยตรง และสารอาหารที่มีน้ำตาลประกอบสูง เช่น แอลกอฮอลล์ เครื่องดื่มผสมน้ำตาล น้ำมัน แป้ง ผลไม้รสหวานจัด เนยในส่วนประกอบของหวาน เป็นต้น
คือ สารไขมันที่เป็นท่อนำเลียงไขมันจากอวัยวะภายในและกรดไขมันทั้งหมด นำไปสู่การย่อยสลายที่อวัยวะส่วนตับและผลิตน้ำดีออกมา อีกทั้งไขมันดีจะช่วยกีดกันไขมันเลวจากการสะสมในบริเวณหลอดเลือดแดงอีกด้วย อาหารที่มีส่วนประกอบไขมันชนิดดี เช่น เนื้อปลาที่มีกรดไขมันสูง ชีส ไข่เต็มฟอง อะโวคาโด และดาร์ดช็อกโกแลต เป็นต้น
คือ สารไขมันที่เป็นตัวนำเลี้ยงคอเลสเตอรอลพัดพาไปสู่อวัยวะภายในร่างกายต่าง ๆ ปริมาณของไขมันเลวจะเพิ่มหรือลดลง ขึ้นอยู่กับผู้ป่วยบริโภคอาหารที่่มีสารไขมันเลวมากน้อยแค่ไหน เช่น น้ำมันจากสัตว์ กะทิ เนย ครีมเทียม มาการีน และมันฝรั่งทอด เป็นต้น
เป็นการตรวจเลือดเพื่อประเมินสมรรถภาพของไตนั้น ไตจะต้องเสื่อมมากกว่าร้อยละ 70 ระดับของสารพิษสะสมจึงเริ่มมีมากขึ้นให้วัดได้
เป็นเอนไซม์ที่มีมากในเซลล์ตับ หากเกิดจากความเสียหายในเซลล์ตับจะมีค่า ALT สูงกว่าปกติ
เป็นการตรวจสอบเพื่อหาน้ำตาลกลูโคสในปัสสาวะ ว่ามีอยู่มากน้อยเพียงใด ซึ่งค่าตัวเลขที่ได้ออกมานั้นก็จะเป็นสัญญาณที่บ่งชี้ได้ ว่าผู้ตรวจเป็นโรคเบาหวานหรือไม่
การเตรียมตัวก่อนตรวจ
- กรุณานัดหมายล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วัน
- งดอาหารและเครื่องดื่มประกอบสาร คาเฟอีน แอลกอฮอร์ และน้ำเกลือแร่ ก่อนวันตรวจ 10-12 ชั่วโมง
- สวมใส่เสื้อผ้าที่โปร่ง สบาย เพื่อให้เจาะเลือดได้สะดวก